ตะกร้อ สนามตะกร้อ ประวัติกีฬาตะกร้อ เตะตะกร้อ ตะกร้อไทย ตะกร้อโบราณ ลูกตะกร้อ ตะกร้อราคา ตะกร้อ กติกา ประวัติก็ฬาตะกร้อ วิธีเล่นตะกร้อ
ตะกร้อ ด้วยการเป็นภูมิภาคที่เปิดรับอิทธิพลต่างๆ จากภายนอก เอเชียตะวันสนามตะกร้อออกเฉียงใต้ได้รับและปรับอิทธิพลต่างชาติให้เป็นท้องถิ่น และยังได้ผ่านประสบการที่เป็นทั้งการแบ่งแยกเป็นส่วนๆ และรวมตัวในกระบวนการสร้างอัตลักษณ์ของภูมิภาค การซึมซับอิทธิพลต่างๆ อย่างเช่น จากอินเดีย โลกอิสลาม จีน ตลอดจนยุโรปได้กลายเป็นฐานสำหรับทั้งประวัติศาสตร์ร่วมและแยกส่วน ซึ่งปรากฏชัดเจนในหลายๆ ด้าน เช่น การเมือง ระบบเศรษฐกิจ ความสัมพันธ์ทางสังคม วิถีปฏิบัติทางวัฒนธรรม ตะกร้อ กติกา ศาสนาตลอดจนกีฬาและวัฒนธรรมยอดนิยมร่วมสมัย บทเรียนนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับบทบาทของกีฬาในการสร้างอัตลักษณ์ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยใช้เซปักตะกร้อเป็นกรณีในการศึกษาว่า
สนามตะกร้อ
ประวัติกีฬาตะกร้อต้นกำเนิดและประวัติศาสตร์ที่กระจัดกระจายของกีฬาชนิดนี้ที่เป็นกีฬาท้องถิ่นยอดนิยมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กลายเป็นสิ่งที่เปล่งประกายและขับภาพลักษณ์ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สู่สายตาชาวโลกได้อย่างไร ในขณะที่ประวัติศาสตร์ของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นกรณีศึกษาเกี่ยวกับผลของกระแสโลกที่มีต่อภูมิภาค ในทางกลับกันเซปักตะกร้อที่เป็นกีฬาพื้นเมืองก็ส่งผลต่อส่วนต่างๆ ของโลกเซปักตะกร้อเป็นกีฬาพื้นเมืองของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เล่นบนสนามที่มีขนาดเท่าๆ กับสนามแบดมินตันคู่ มีผู้เล่นทีมละ 2-4 คนที่ต้องพยายามเตะลูกตะกร้อให้ตกไปบนพื้นสนามของอีกฝ่าย คำว่า เซปักตะกร้อ เป็นคำผสมระหว่างคำมลายู เซปัก (sepak แปลว่า ‘เตะ’)
ประวัติกีฬาตะกร้อ
เตะตะกร้อกับคำไทย ตะกร้อ ที่เป็นลูกบอลที่ทำจากหวาย รวมกันก็จะแปลตรงๆ ได้ว่า “เตะตะกร้อ”การเป็นสิ่งพื้นเมืองของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หมายความว่าเซปักตะกร้อเป็นที่รู้จักกันในหลายชื่อทั่วทั้งภูมิภาค ยกตัวอย่างเช่น อินโดนีเซียเรียกว่าเซปักตะกร้อ มาเลเซียเรียกว่าตะกร้อไทยเซปักรากา (sepak raga) ไทยเรียก ตะกร้อ ฟิลิปปินส์เรียก ซิปา (sipa) เวียดนามเรียก ดาเคา (da cau) ลาวเรียก กะต้อ (kator) เมียนมาเรียก ชินโลน (chinlone) การมีชื่อต่างๆสำหรับเกมที่มีการเล่นที่คล้ายคลึงกันบ่งบอกว่าเซปักตะกร้ออาจได้รับการดัดแปลงให้เหมาะกับบริบทท้องถิ่นหรือของประเทศทั่วทั้งภูมิภาค ส่วนในเรื่องต้นกำเนิดนั้นมีหลายความเห็นที่แตกต่างกันเชื่อกันว่าเซปักตะกร้อถูกนำมายังเอเชีย
เตะตะกร้อ
ตะกร้อโบราณตะวันออกเฉียงใต้โดยชาวจีนที่มีเกมการเล่นที่คล้ายกันที่เป็นการเตะลูกขนไก่และเลี้ยงให้ลอยอยู่ในอากาศ บันทึกที่เก่าแก่ที่สุดชิ้นหนึ่งที่กล่าวถึงการเล่นเซปักตะกร้อในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อยู่ในจดหมายเหตุมลายู (Sejarah Melayu) โดยมีข้อ ลูกตะกร้อความบรรยายการเล่นเซปักรากาในอาณาจักรสุลต่านแห่งมะละการะหว่างราจา มูฮัมหมัด ลูกชายของสุลต่านมานเซอร์ ชาห์ และตุน บีซาร์ ลูกชายของตุน เปรัก ซึ่งจบลงด้วยความตายของตุน บีซาร์ด้วยน้ำมือของราจา มูฮัมหมัด แม้ว่าจุดสำคัญของเรื่องราวจะไม่ได้อยู่ที่เซปักรากา แต่เป็นเรื่องต้นกำเนิดของการปกครองของชาวมลายูในปาหัง เนื่องจากสุลต่านมานเซอร์ ชาห์ จำต้องสั่งให้ลูกชายออกจากมะละกาไปยังตะกร้อราคา ปาหังเป็นการลงโทษ
ตะกร้อไทย
ประวัติก็ฬาตะกร้อแต่ถึงอย่างนั้นก็ยังเป็นข้อบ่งชี้ว่ามีการเล่นเซปักตะกร้อกันมานานตั้งแต่ศตวรรษที่ 15 แล้ว และเล่นโดยชนชั้นสูงอีกด้วย (Brown, 2009, น. 97-98) จากมะละกา เซปักตะกร้อก็แพร่ข้ามช่องแคบไปยังสุมาตราในศตวรรษที่ 16 จากนั้นก็ไปถึงชาวบูกิสในสุลาเวสีวิธีเล่นตะกร้อแล้วพัฒนากลายเป็นเกมพื้นเมืองที่เรียกว่า “รากา” และได้รับความนิยมจนถึงศตวรรษที่ 19ประวัติศาสตร์ของเซปักตะกร้อในไทยก็น่าสนใจไม่แพ้กัน ชอว์น เคลลี ระบุว่ามีบันทึกประวัติศาสตร์ของไทยกล่าวถึงการเล่นกีฬาชนิดนี้ในสมัยสมเด็จพระนเรศวร (พ.ศ.2133-2148) แห่งอาณาจักรอยุธยา ภาพจิตรกรรมฝาหนังของวัดพระแก้วที่กรุงเทพฯ ที่สร้างขึ้นในปีพ.ศ.2328) แสดงภาพหนุมานเล่นเซปักตะกร้อกับสมุนลิง แม้ว่าจะเป็นการเล่นที่ผู้เล่นล้อมวง ตะกร้อ
ขอบคุณเครดิต thairath