ตะกร้อ สนามตะกร้อ ประวัติกีฬาตะกร้อ เตะตะกร้อ ตะกร้อไทย ตะกร้อโบราณ ลูกตะกร้อ ตะกร้อราคา ตะกร้อ กติกา ประวัติก็ฬาตะกร้อ วิธีเล่นตะกร้อ
สนามตะกร้อ
ตะกร้อ ประวัติตะกร้อ ประวัติกีฬาตะกร้อไทย ความเป็นมาของสนามตะกร้อกีฬาตะกร้อ สามารถอ้างอิงได้จากภาพจิตรกรรมฝาผนังที่วัดพระแก้ว กรุงเทพมหานคร ที่สร้างตั้งแต่ปี ค.ศ. 1785 ซึ่งภาพศิลปะเรื่องรามเกียรติ์ มีภาพการเล่นตะกร้อแสดงไว้ให้อนุชนรุ่นหลังได้รับรู้ เป็นภาพหนุมานกำลังเล่นเซปัก ตะกร้อประวัติกีฬาตะกร้อ อยู่ท่ามกลางกองทัพลิง นอกเหนือจากหลักฐานภาพจิตรกรรมดังกล่าว ยังมีบันทึกทางประวัติศาสตร์ที่กล่าวถึงกีฬาชนิดนี้ ประวัติตะกร้อ มีบันทึกมาตั้งแต่ช่วงปี พ.ศ. 2133 – ปัจจุบัน โดยมีรายละเอียดดังนี้พ.ศ. 2133-2149 (ค.ศ. 1590-1606) ในยุคของ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ที่ประเทศไทย เดิมชื่อ ประเทศสยาม มี สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ และมีกรุงศรีอยุธยาเป็นเมืองหลวง
ประวัติกีฬาตะกร้อ
เตะตะกร้อ คนไทยหรือคนสยาม มีการเริ่มเล่นตะกร้อที่ทำด้วย หวาย ซึ่งเป็นการเล่น ตะกร้อวงพ.ศ. 2199-2231 (ค.ศ. 1656-1688) มีหลักฐานพอจะอ้างอิงได้ว่า ในสมัย สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ในยุคสมัย กรุงศรีอยุธยา เป็นเมืองหลวง มีคณะสอนตะกร้อไทยศาสนาชาว ฝรั่งเศส มาพำนักในกรุงศรีอยุธยา เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2205 มีการสร้างวัดนักบุญยอเซฟ นิกายโรมันคาทอริก ซึ่งมีบันทึกของ บาทหลวง เดรียง โลเนย์ ว่าชาวสยามชอบเล่นตะกร้อกันมากพ.ศ. 2315 (ค.ศ. 1771) เป็นช่วงหมดยุค กรุงศรีอยุธยา ซึ่งเป็นตอนต้นแห่งยุคสมัย กรุงธนบุรี เป็นเมืองหลวง ได้มีชาวฝรั่งเศสชื่อ นายฟรังซัว อังรี ตุระแปง ได้บันทึกในหนังสือชื่อ HISTOIRE DU ROYAUME DE SIAM
เตะตะกร้อ
ตะกร้อโบราณพิมพ์ที่ กรุงปารีส ระบุว่า ชาวสยามชอบเล่นตะกร้อในยามว่างเพื่อออกกำลังกายพ.ศ. 2395 (ค.ศ. 1850) ในยุค กรุงรัตนโกสินทร์ หรือ กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวง ยังมีข้ออ้างอิงในหนังสือ ชื่อ NARATIVE OF A FESIDENCE IN SIAM ของชาวอังกฤษชื่อ นายเฟรเดอริค อาร์ เซอร์นีล ระบุว่ามีการเล่นตะกร้อในประเทศสยามการเล่นตะกร้อ ของคนไทยหรือคนสยาม มีหลักฐานอ้างอิงค่อนข้างจะชัดเจนว่ามีการเล่นกันมานานแล้ว ตั้งแต่ยุคสมัย กรุงศรีอยุธยา เป็น เมืองหลวง ลูกตะกร้อพยานหลักฐานสำคัญที่จะยืนยันหรืออ้างอิงได้ดีที่สุด น่าจะเป็นบทกวีในวรรณคดีต่าง ๆ ของแต่ละยุคสมัยที่ร้อยถ้อยความเกี่ยวพันถึงตะกร้อ ไว้ เช่นพ.ศ. 2276-2301 (ค.ศ. 1733-1758) ในยุคสมัย
ตะกร้อไทย
ตะกร้อราคา พระเจ้าบรมโกศ ครองกรุงศรีอยุธยา ซึ่งเป็นยุคที่วรรณคดีหรือวัฒนธรรมด้านอักษรศาสตร์เฟื่องฟู ก็มีกวีหลายบทเกี่ยวพันถึงตะกร้อพ.ศ. 2352-2366 (ค.ศ. 1809-1823) เป็นยุคตอนต้นของ กรุงรัตนโกสินทร์ (กรุงเทพมหานคร) เป็นเมืองหลวง สมัย พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ 2) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ในพระราชนิพนธ์ร้อยกรองของวรรณคดีเรื่อง อิเหนา และเรื่องสังข์ทอง มีบทความร้อยถ้อยความเกี่ยวพันถึง ตะกร้อ ด้วยพ.ศ. 2366-2394 (ค.ศ. 1823-1851) ในยุคสมัย กรุงรัตนโกสินทร์ เป็นเมืองหลวง สมัย สมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ ในบทกวีของ สุทรภู่กวีเอกแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ได้เขียนบทกวี นิราศเมืองสุพรรณ ตะกร้อ กติกา ในปี พ.ศ. 2384 (ค.ศ. 1841) มีร้อยถ้อยความเกี่ยวพันถึง ตะกร้อ ไว้เช่นกัน
ตะกร้อโบราณ
ประวัติก็ฬาตะกร้อ เหตุผลหรือข้ออ้างที่กล่าวมาทั้งหลายทั้งปวง ย่อมถือเป็นพยานหลักฐานไว้ว่า คนสยามหรือคนไทย ได้เล่น ตะกร้อ มาเป็นเวลาช้านานแล้วพ.ศ. 2468-2477 (ค.ศ. 1925-1934) ในยุคสมัย กรุงรัตนโกสินทร์ เป็นเมืองหลวง สมัย สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว วิธีเล่นตะกร้อทรงเป็นพระมหากษัตริย์ (รัชกาลที่ 7) ได้มีการปรับปรุงหรือดัดแปลงการเล่นตะกร้อขึ้นหลายรูปแบบ ซึ่งมี ตะกร้อลอดห่วง, ตะกร้อข้ามตาข่าย, ตะกร้อชิงธง, ตะกร้อพลิกแพลง และ การติดตะกร้อตามร่างกายพ.ศ. 2470 (ค.ศ. 1927) โดย หลวงมงคลแมน ชื่อเดิม นายสังข์ บูรณะศิริ เป็นผู้ริเริ่มวิธีการเล่น ตะกร้อลอดห่วง และเป็นผู้คิดประดิษฐ์ ห่วงชัยตะกร้อ ขึ้นเป็นครั้งแรก ซึ่งเดิมห่วงชัยตะกร้อ เรียงติดกันลงมา มี 3 ห่วง ตะกร้อ
ขอบคุณเครดิต dailynews.co.th
ข่าวแนะนำ
- ตะกร้อ กีฬาที่มีมาแต่นมนานน
- ตะกร้อ ประวัติกีฬาตะกร้อ
- บาสเกตบอล NBA“นักรบทองคำ” ตามคาด เถลิง “แชมป์” NBA 2022
- 3 แข้งรุ่นใหญ่ “เบลเยียม” ทะเลาะกันเองในฟุตบอลโลก 2022
- “ซานโตส”รับไม่ชอบ”โรนัลโด”เกรี้ยวกราด